โครงการอาสาสมัครเพื่อสังคม (2018-2020)


แนวคิดโครงการ "คนสู้ชีวิต" 2562
ระยะเวลา : พ.ย. - ธ.ค.2020
 วัตถุประสงค์ 1 : เพื่อให้ชุมชนที่ร่วมโครงการสามารถพัฒนาข้อเสนอโครงการขอรับการสนับสนุนจากรัฐในการ
                                 พัฒนาคุณภาพชีวิตและปกป้องสิทธิของผู้อยู่ในภาวะยากลำบาทโดยเฉพาะคนพิการในชุมชน
                                 ไทย
ผลลัพธ์ที่ 1  : ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการเขียนโครงการมีความเข้าใจถึงแบบฟอร์มข้อเสนอโครงการต่างๆ อย่างดี
ผลที่เกิดขึ้น: อย่างน้อย มี 3 โครงการ (ปีละ 1 โครงการ) ที่เขียนและส่งให้กับภาครัฐเพื่อขอรับการสนับสนุนทุน
คาดว่าผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น
ตัวบ่งชี้ผลกระทบ
ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ
1) จนท. ศูนย์ฯเกิดความเข้าใจการเขียนโครงการ
1) จนท.ศูนย์และอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการและมีบทบาทหน้าที่
2) จัดอบรมให้ จนท.และแกนนำ 100 คน (สังฆมณฑลละ 10 ) เรื่องการเขียนโครงการ
3) จนท.และอาสาสมัครได้รับการอบรมให้สามารถจัดเก็บข้อมูลที่จำเป็นในการเขียนโครงการ
1)รายชื่อ จนท.และแกนนำ
2)รายชื่อเขียนโครงการ
3)มีความเข้าใจเชิงลึกต่อการเก็บข้อมูล
2) เกิดทีมนักเขียนโครงการเพื่อการพัมนาชุมชน
ลักษณะของกิจกรรม
ตัวชี้วัด
1.1)จัดประชุมทีมเขียนโครงการของศูนย์
1)อาสาสมัครเข้าร่วมพัฒนาการเขียนโครงการ
2) กำหนดบทบาทหน้าที่
1.2) จัดอบรมระดับสังฆมณฑล จนท.และแกนนำ 15 คน
1) จนท.และแกนนำเข้าใจแบบฟอร์มโครงการต่างๆ และรู้วิธีการเก็บรวบรวม ข้อมูลเพื่อการเขียนโครงการ
2) แกนนำและอาสาสมัครเข้าใจวิธีการทำงานกับชุมชนเพื่อการเก็บข้อมูล
3)มีร่างโครงการ






ผลลัพธ์ที่ 2 : กลุ่มอาสาสมัครเพื่อสังคมได้รับรู้กระบวนการเก็บข้อมูลในเชิงลึกและเรียนรู้กระบวนการคืนข้อมูล
                     สู่ชุมชน เพื่อการพัฒนาโครงการและดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น           
                : กลุ่มอาสาสมัครเพื่อสังคมที่รวมตัวกันช่วยชุมชนได้รับการพัฒนาศักยภาพ
คาดว่าผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น
ตัวบ่งชี้ผลกระทบ
ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ
1)เกิดกลุ่มอาสาสมัครเพื่อสังคมใน 20 ชุมชน
1.กลุ่มชุมชนต่างๆ เข้าร่วมพัฒนาชุมชนด้วยกัน
2.มีการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้อยู่ในภาวะลำบากโดยเฉพาะคนพิการ จำนวน 20 คน/2ชุมชน โดยการส่งเสริมให้กลุ่มชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
3)มีข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการทำงาน
   3.1)ประเมินความต้องการ
  3.2) ออกแบบการบริการ
   3.3)ประเมินความต้องการ ทางการเงิน
4) เกิดการหารือเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บได้
1)มีกลุ่มต่างๆ เข้ามาร่วมในโครงการ คนพิการ อาสาสมัคร ผู้อยู่ในภาวะยากลำยาก
2) มีการอบรม
3) มีการบันทึกข้อมูลต่างๆ
4)มีบทสรุปร่วมสำหรับการทำโครงการ
2)กลุ่มอาสาสมัครเพื่อสังคมมีความรู้ความเข้าใจ การการเก็บข้อมูล
3)กลุ่มอาสาสมัครเพื่อสังคมได้เรียนรู้ร่วมกันเพื่อเขียนโครงการ
ลักษณะของกิจกรรม
ตัวชี้วัด
2.1)จัดอบรม 2 ครั้งต่อชุมชน(ชุมชนละ 1 ครั้ง ๆ ละ 20 คน)
1)กลุ่มชุมชนเข้าใจกระบวนการทำงาน - เก็บข้อมูล
2)กลุ่มชุมชนเข้าใจกระบวนการทำงานเป็นทีม
3)เกิดการหารือจากข้อมูลที่ได้เพื่อจัดทำกิจกรรมและงบประมาณ
2.2) จัดประชาคมชุมชน 2 ครั้ง (ชุมชนละ 1 ครั้ง ๆ ละ 30 คน)
1)มีการวิเคราะห์ความต้องการของชุมชน
2)เพื่อเติมเต็มข้อมูลที่เก็บได้
3)ข้อมูลได้รับการวิเคราะห์เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของชุมชน



ผลลัพธ์ที่ 3  : กระบวนการเรียนรู้การเขียนโครงการ/การพัฒนาชุมชน/การช่วยเหลือผู้อยู่ในภาวะลำบากได้รับการแบ่งปัน/ต่อยอด
ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น : ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการเขียนโครงการ รู้และเข้าใจกระบวนการพัฒนาโครงการที่ปรสบผลสำเร็จและไม่ประสบผลสำเร็จ
คาดว่าผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น
ตัวบ่งชี้ผลกระทบ
ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ
1)มีการแบ่งปันประสบการณ์การเขียนโครงการและผลที่ได้
2)เกิดความเข้าใจว่าทำไมบางแห่งประสบความสำเร็จและบางแห่งไม่ผ่าน
3)เกิดความรู้ว่าข้อมูลอะไรที่จำเป็นต้องเก็บให้สมบูรณ์เพื่อให้ได้โครงการที่ดี
1.กลุ่มอาสาสมัครเพื่อสังคมได้รับข้อมูลที่ดี พอเพียง มีกำลังใจการพัฒนาโครงการ
2)กระบวนการอื่นๆ ในการระบุความต้องการของชุมชนได้รับการหารือ
1.มีบันทึกข้อมูลโครงการที่ประสบความสำเรน็จ
2)มีบันทึกผลของการสนับสนุนขององค์กรทุน
3)บันทึกข้อมูลที่จำเป็นในอนาคต
ลักษณะของกิจกรรม
ตัวชี้วัด
3.1)จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำ/อาสาสมัครในระดับสังฆมณฑล ครั้ง 20 คน

1)มีการวิเคราะห์ SWOT เพื่อวางแผนในอนาคต
2)มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างการทำงานและการทำโครงการ
3)มีบันทึกบทเรียนการทำงานที่ดี
4) จนท.ที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ